กุหลาบพันธ์ต่าง ๆ
2. ออก
3. ทน
4. ลำ
5. ให้กิ่งก้าน
6. ฟอร์มด
7. กลีบ
8. กลีบ
9. ดอก
10. ไม่
11. ดอก
พันธุ์เรด | พันธุ์ |
---|
พันธุ์ | พันธุ์ |
---|
พันธุ์ |
---|
การเตรียมดินและการปลูก
ถึงแม้ กุหลาบ จะ ปลูก ได้ ใน ดิน เกือบ ทุก ชนิด แต่ ดิน ที่ ต่าง กัน ก็ ย่อม ทำ ให้ การ เจริญ เติบ โต ดี เลว ต่าง กัน ออก ไป ดัง นั้น ก่อน ปลูก ควร เตรียม ดิน ดัง นี้
ในภาค กลาง ซึ่ง มี สภาพ ดิน ค่อน ข้าง เหนียว และ ค่อน ข้าง เป็น กรด จัด ระดับ น้ำ ใต้ ดิน สูง เกษตร กร ผู้ ปลูก กุหลาบ จะ นิยม ปลูก แบบ ร่อง สวน ซึ่ง มี คู น้ำ คั่น กลาง โดย เริ่ม เตรียม ดิน ใน ฤดู แล้ง คือ จะ ต้อง ฟัน ดิน และ ตาก ดิน ให้ แห้ง เพื่อ กำจัด วัช พืช ก่อน ใน ขณะ ที่ ตาก ดิน นี้ อาจ โรย ปูน ขาว ลง ไป ด้วย ก็ ได้ เมื่อ ดิน แห้ง ดี แล้ว จึง กลับ หน้า ดิน และ ชัก ดิน ใน แต่ ละ แปลง ให้ มี ขอบ สูง ตรง กลาง เป็น แอ่ง เล็ก น้อย ขนาด ของ แปลง กว้าง และ ยาว ตาม พื้น ที่เดิมที่ เคย ปลูก ผัก มา แล้ว การ วาง ระยะ ห่าง ของ ต้น ที่ จะ ปลูก อาจ ใช้ ระยะ 50 x 50 เซนติเมตร จำนวน แถว ใน แต่ ละ แปลง ไม่ ควร เกิน 3 แถว เพื่อ ความ สะดวก ใน การ ตัด ดอก และ ตัด แต่งกิ่งตรง แถว กลาง
สำหรับใน ภาค อื่น ที่ มี สภาพ ดิน ค่อน ข้าง ร่วน หรือ ดิน ร่วน ปน ทราย อาจ ปลูก แบบ เจาะ หลุม ปลูก หรือ แยก แปลง ปลูก ก็ ได้ โดย วัด ขนาด แปลง ปลูก กว้าง 1 .20 เมตร เว้น ทางเดิน 1 เมตร ความ ยาว ของ แปลง ปลูก ตาม ขนาด ของ พื้น ที่ และ ใช้ ระยะ ปลูก 60 x60 เซนติเมตร ซึ่ง จะ ได้ จำนวน ต้น ประมาณ 2,000 ต้น ต่อ ไร่ (หรือ ทำ แปลง ปลูก กว้าง 1เมตร เว้น ทางเดิน 1 เมตร และ ใช้ ระยะ ปลูก 50 x 50 เซนติเมตร สำหรับ พันธุ์ กุหลาบ ที่ ขนาด ของ ทรง พุ่ม ไม่ แผ่ กว้าง มาก นัก) ก่อน ปลูก ควร หว่าน ปูน ขาว และ ไถ พรวน ตาก ดิน ไว้ ให้ แห้ง
กุหลาบสามารถ ปลูก ได้ ทั้ง ใน ดิน ที่ เป็น กรด หรือ ด่าง แต่ เจริญ ได้ ดี ใน ดิน ที่ ค่อน ข้าง เป็น กรด เล็ก น้อย คือ มี pH ประมาณ 4.5-6.5 ถ้า ดิน เป็น กรด มาก ให้ เติม ปูน ขาว 60-100 กิโลกรัม ต่อ 100 ตา ราง วา แต่ ถ้า ดิน เป็น ด่าง ก็ ใส่ กำมะถัน ผง 20-50 กิโลกรัม ต่อ 100 ตา ราง วา เมื่อ เตรียม แปลง ปลูก เรียบ ร้อย แล้ว ให้ ขุด หลุม ปลูก กว้าง และ ลึก 30 x 30 เซนติเมตร (ถ้า เตรียม หลุม ปลูก กว้าง และ ลึก กว่า นี้ จะ เป็น การ ดี ยิ่ง ขึ้น) จาก นั้น ก็ จะ ใส่ ปุ๋ย คอก เช่น ขี้ เป็ด ขี้ ไก่ ขี้ วัว ฯลฯ ประมาณ หลุม ละ 1 บุ้ง กี๋ ใส่ ปุ๋ย ซุปเปอร์ฟอสเฟต หรือ กระดูก ป่น เป็น ปุ๋ย รอง ก้น หลุม ๆ ละ 1 กำ มือ คลุก เคล้า ให้ เข้า กัน แล้ว จึง นำกิ่งพันธุ์ กุหลาบ ซึ่ง อาจ จะ เป็นกิ่งตอน หรือ ต้น ติด ตา ลง ไป ปลูก กลบ ดิน ที่ โคน ต้น ให้ กระชับ และ รด น้ำ ให้ ชุ่ม
กิ่งพันธุ์ที่ นิยม นำ มา ปลูก เพื่อ ตัด ดอก เป็น การ ค้า ใน ปัจจุบัน ได้ แก่ กิ่งตัด ชำ และกิ่งตอน จะ มี เกษตร กร บาง ราย ที่ ปลูก โดย ใช้ ต้น ติด ตา แต่ มี น้อย ราย
การขยายพันธ์
การขยาย พันธุ์ กุหลาบ ที่ นิยม ใช้ มี 3 วิธี คือ
1. การตัด ชำ
วิธีการ ตัด ชำ ที่ นิยม ทำ อยู่ ทั่ว ไป คือ เลือกกิ่งกุหลาบ ที่ ไม่ แก่ และ ไม่ อ่อน จน เกิน ไป นำ มา ตัด เป็น ท่อน ประมาณ 12-15 เซนติเมตร หรือ 1 คืบ รอย ตัด ต้อง อยู่ ใต้ ข้อ พอ ดี แล้ว ตัด ใบ ตรง โคนกิ่งอ อก จาก นั้น เฉือน โคน ทิ้ง แล้ว จุ่ม โคนกิ่งตัด ชำ นี้ ใน ฮอร์โมน เร่ง ราก เซ่น เซอรา ดิกส์ เบอร์ 2 (เพื่อ ช่วย เร่ง ให้ ออก ราก เร็ว ขึ้น) แล้ว ผึ่ง ให้ แห้ง นำ ไป ปัก ชำ ใน แปลง พ่น หมอก กลาง แจ้ง ถ้า ไม่ มี แปลง พ่น หมอก ก็ ใช้เครื่องพ่น น้ำ รดสนาม หญ้า ก็ ได้ แล้ว ให้ น้ำ เป็น ระยะ ๆ ตาม ความ จำ เป็น โดย มี หลัก ว่า อย่า ให้ ใบ กุหลาบ แห้ง กิ่งกุหลาบ จะ ออก ราก ใน 12-15 วัน แล้ว แต่ พันธุ์ การ ชำกิ่งนี้ นิยม ทำ กัน มาก ใน ปัจจุบัน เพราะ ได้ จำนวน ต้น มาก ใน ระยะ เวลา สั้น เสีย ค่า ใช้ จ่าย น้อย แต่กิ่งชำ นี้ เมื่อ นำ ไป ปลูก ต้น จะ โทรม เร็ว ภาย ใน 3- 4 ปี ซึ่ง กุหลาบ พันธุ์ สี เหลือง และ สี ขาว มัก จะ ออก ราก ยาก
ตัดกิ่งกุหลาบ | เฉือน |
---|
จุ่ม |
---|
2. การตอน
กิ่งที่ใช้ ตอน มัก มา จากกิ่งที่ มี สภาพ แตก ต่าง กัน ทั้งกิ่งอ่อน และกิ่งแก่ คละ กัน ไป ทำ ให้ การ เจริญ เติบ โต ของ ต้น กุหลาบ หลัง ลง แปลง ปลูก ใน แปลง ไม่ สม่ำเสมอ ซึ่ง การ ตอน นี้ จะ ใช้ เวลา ใน การ เกิด ราก นาน ประมาณ 4-7 สัปดาห์ ทั้ง นี้ แล้ว แต่ พันธุ์ ที่ จะ ใช้ ตอน
3. การติด ตา
วิธีการ ทำ ต้น กุหลาบ ติด ตา นี้ ค่อน ข้าง ยุ่ง ยาก และ ต้อง ใช้ เวลา ใน การ ทำ นาน กว่า 2 วิธี แรก คือ ตั้ง แต่ เริ่ม ตัด ชำ ต้น ตอ ป่า จน ถึง พันธุ์ ดี ที นำ ไป ติด นั้น ออก ดอก แรก จะ ใช้ เวลา ประมาณ 5-6 เดือน โดย ใน ขั้น แรก จะ ต้อง ตัด ชำ ต้น ตอ ป่า (ของ กุหลาบ ป่า) ให้ ออก ราก และ เลี้ยง ต้น ตอ ป่า นั้น ให้ แตก ยอด ใหม่ ยาว เกิน 1 ฟุต ขึ้น ไป ซึ่ง จะ ใช้ เวลา ประมาณ 3 เดือน (หลัง ตัด ชำ และ ออก ราก) จาก นั้น จึง นำ ตา พันธุ์ ดี ที่ ต้อง การ ไป ติด ตา ที่ บริเวณ โคน ของ ต้น ตอ ป่า การ ติด ตา นี้ จะ ต้อง อาศัย ฝี มือ และ ความ ชำนาญ พอ สม ควร โดย จะ ใช้วิการ ติด ตา แบบ ใด ก็ ได้ เช่น แบบ ตัว ที เป็น ต้น
วิธีติด ตา วิธี ติด ตา กุหลาบ ที่ ได้ ผล ดี คือ การ ติด ตา แบบ ที่ เรียก ว่า รูป ตัว ที หรือ แบบ โล่ มี วิธี ทำ ดัง นี้ คือ
1. เลือกบริเวณ ที่ จะ ติด ตา ซึ่ง โดย ทั่ว ไป แล้ว จะ พยายาม ติด ตา ให้ ต่ำ ที่ สุด เท่า ที่ จะ ทำ ได้ คือ ประมาณ ไม่ เกิน 3 นิ้ว นับ จาก ผิว ดิน แล้ว ใช้ กรรไกร หรือ มีด ตัด หนาม ตรง บริเวณ ที่ จะ ติด ตา ออก โดย รอบกิ่ง
2. ใช้ปลาย มีด กรีด ที่ เปลือก เป็น รูป ตัว ที แล้ว เผยอ เปลือก ตรง รอย กรีด ด้าน บน ให้ เปิด ออก เล็ก น้อย
3. เฉือนตา เป็น รูป โล่ ให้ ได้ แผ่น ตำ ยาว ประมาณ 1 นิ้ว และ ให้ แผ่น ตา นั้น มี เนื้อ ไม้ ติด มา ด้วย เพียง บางๆ ไม่ ต้อง แกะ เนื้อ ไม้ ติด มา มาก ให้ ลอก เนื้อ ไม้ ออก อย่าง ระ มัด ระวัง อย่า ให้ แผ่น ตา โค้ง งอ หรือ บอบ ช้ำ
4. นำแผ่น ตา ไป เสียบ ลง ที่ รอย กรีด ของ ต้น ตอ อย่าง ระ มัด ระวัง อย่า ให้ แผ่น ตา ช้ำ โดย ใช้ มือ ซ้าย จับ แผ่น ตา (ตรง ก้าน ใบ) ค่อย ๆ กด ลง ไป ขณะ เดียว กัน มือ ขวา ก็ ค่อย เปิด เปลือก ช่วย แล้ว พัน ด้วย พลาสติก
เพื่อให้ ตา เจริญ เติบ โต เร็ว ขึ้น ควร ปล่อย ให้กิ่งใหม่ เจริญ เติบ โต จน กระทั่ง กิ่งใหม่ ยาว พอ สม ควร แล้ว จึง ตัด ต้น ตอ ที่ อยู่ เหนือกิ่งใหม่ ออก ทั้ง หมด สำหรับ พลาสติก ที่ ติด ตา อยู่ นั้น อาจ จะ ปล่อย ให้ ผุ หรือ หลุด ไป เอง ก็ ได้ ถ้า เห็น ว่า แผ่น พลาสติก นั้น รัด ต้นเดิมแน่น เกิน ไป หรือ ไป ขัด ขวาง การ เจริญ เติบ โต ของกิ่งใหม่ ก็ ให้ แกะ ออก
ส่าหรับกิ่งที่แตก ออก มา ใหม่ นี้ ควร มี ไม้ ผูก พยุงกิ่งไว้ เสมอ เพราะ อาจ จะ เกิด การ ฉีก ขาด ตรง รอย ต่อ ได้ ง่ายเนื่อง จาก รอย ประสาน ยัง ไม่ แข็ง แรง นัก
ในกรณี ที่ การ ติด ตา นั้น ไม่ ได้ ผล คือ แผ่น ตา ที่ นำ ไป ติด ตา นั้น เปลี่ยน เป็น สี น้ำ ตาล หรือ สี ดำ ให้ รีบ แกะ แผ่น พลาสติก และ แผ่น ตา นั้น ออก แล้ว ติด ตา ใหม่ ใน ด้าน ตรง ข้ามกับของเดิม หาก ไม่ ได้ ผล อีก ต้อง เลี้ยง ดู ต้น ตอ นั้น จน กว่า รอย แผล จะ เชื่อม ก้น ดี แล้ว จึง นำ มา ติด ตา ใหม่ ได้
สำหรับการ ติด ตา ใน กุหลาบ แบบ ทรง ต้น สูง (Standard) นั้น ก็ ทำ เช่น เดียว กัน เพียง แต่ ตำแหน่ง ที่ ติด ตา อยู่ ใน ระดับ สูง กว่า เท่า นั้น เอง การ ติด ตา จะ ติด ที่ ต้น ตอ หรือกิ่ ง ขนาด ใหญ่ ที่ แตก ออก มา ก็ ได้
การให้น้ำกุหลาบ
กุหลาบเป็น พืช ที่ ต้อง การ ความ ชื้น สูง ปริมาณ น้ำ ที่ รด ลง ไป ใน ดิน ปลูก ควร กะ ให้ น้ำ ซึม ได้ ลึก ประมาณ 16-18 นิ้ว และ อาจ เว้น ระยะ การ รด น้ำ ได้ คือ ไม่ จำ เป็น ต้อง รด น้ำ ทุก วัน (ทั้ง นี้ ขึ้น อยู่กับสภาพ ดิน ปลูก) มี ข้อ ควร จำ อย่าง ยิ่ง ใน การ รด น้ำ กุหลาบ คือ อย่า รด น้ำ ให้ โดน ใบ เนื่อง จาก โรค บาง โรค ที่ อยู่ ตาม ใบ หรือกิ่งจะ แพร่ ระบาด กระจาย ไป ได้ โดย ง่าย การ ให้ น้ำ ก็ ไม่ ควร ให้ น้ำ กระแทก ดิน ปลูก แรงๆ เพราะ เม็ด ดิน จะ กระเด็น ขึ้น ไป จับ ใบ กุหลาบ ทำ ให้ เชื้อ โรค บาง ชนิด ที่ อาศัย อยู่ ใน ดิน ระบาด กลับ ขึ้น ไป ที่ ต้น โดย ง่ายและ ถ้า จำ เป็น จะ ต้อง รด น้ำ ให้ เปียก ใบ ควร จะ รด น้ำ ใน ตอน เช้า
การใส่ปุ๋ย
ในระยะ แรก ของ การ ปลูก จะ เป็น ระยะ ที่ ต้น กุหลาบ เจริญ เติบ โต สร้าง ใบ และกิ่ง ควร ใส่ ปุ๋ย เคมี ที่ มี สูตร ตัว แรก คือ ไนโตรเจน สูง โดย ใส่ ทุก 15 หรือ 30 วัน อัตรา การ ใส่ 1 กำ มือ ต่อ ต้น ก่อน ใส่ ปุ๋ย ควร มี การ พรวน ดิน ตื้นๆ อย่า ให้ กระ ทบ ราก มาก นัก แล้ว โรย ปุ๋ย ให้ รอบ ๆ ต้น ห่าง จาก โคน ต้น 4-6 นิ้ว แล้ว แต่ ขนาด ของ ทรง พุ่ม จาก นั้น ก็ รด น้ำ ตาม ให้ ซุ่ม (แต่ อย่า รด น้ำ จน โชก) เมื่อ กุหลาบ เริ่ม ให้ ดอก ควร ใช้ ปุ๋ย เคมี ที่ มี ฟอสฟอรัส และ โปแตสเซี่ ยม สูง ควบ คู่ กัน ไป เพื่อ เร่ง การ ออก ดอก และ ทำ ให้ ก้าน ดอก แข็ง แรง นอก จาก นี้ อาจ จะ ให้ ปุ๋ย ทางใบ เพิ่ม เติม ก็ จะ เป็น การ ดี ข้อ ควร ระวัง ใน การ ใส่ ปุ๋ย หลัง จาก ปลูก แล้ว คือ ควร โรย ปุ๋ย ให้ กระจาย รอบ ๆ ต้น อย่าง สม่ำเสมอ อย่า ใส่ เป็น กระจุก ๆ ที่ จุด ใด จุด หนึ่ง เพราะ อาจ ทำ ให้ เกิด ความ เสีย หาย ต่อ ต้น กุหลาบ ได้ เนื่อง จาก มี ความ เข้ม ข้น ของ ปุ๋ย ตรง จุด ที่ ใส่ มาก เกิน ไป
การป้องกันและกำจัดวัชพืชในแปลงปลูก
อาจจะ ใช้ แรง งาน คน เก็บ ถอน หรือ ใช้ สาร เคมี กำจัด วัช พืช ซึ่ง มี ทั้ง ชนิด คุม กำเนิด และ ชนิด ที่ ถูก ทำลาย ต้น ตาย (อัตรา การ ใช้ จะ ระบุ อยู่ ที่ ฉลาก ของ ขวด) ข้อควร ระวัง ใน การ ใช้ สาร เคมี เพื่อ กำจัด วัช พืช นี้ คือ พยายาม หลีก เลี่ยง ที่ จะ ฉีด พ่น สาร ให้ ถูก ต้น หรือ ใบ กุหลาบ และ ไม่ ใช้ ถัง ฉีด พ่น ปะ ปนกับถัง ที่ ใช้ พ่น สาร เคมี ป้อง กัน กำจัด โรค และ แมลง
การคลุมดินแปลงปลูก
เนื่องจาก กุหลาบ เป็น พืช ที่ ต้อง การ แสง แดด จัด อย่าง น้อย วัน ละ 6 ชั่ว โมง ดัง นั้น สถาน ที่ ปลูก กุหลาบ จึง ต้อง เป็น ที่ โล่ง แจ้ง และ จะ ต้อง มี ความ ชื้น สูง ด้วย การ คลุม แปลง ปลูก จึง เป็น สิ่ง จำ เป็น ส่าหรับ การ ปลูก กุหลาบ โดย ใช้ วัสดุ ที่ หา ได้ ง่ายใน ท้อง ถิ่น นั้นๆ เซ่น หญ้า แห้ง ฟาง เปลือก ถั่ว ลิสง ซัง ข้าวโพด ชาน อ้อย ขุย มะพ้า ว แกลบ และ ขี้ เลื่อย เป็น ต้น ควร จำ ไว้ ว่า วัสดุ ที่ จะ นำ มา คลุม แปลง ปลูก นี้ ควร เป็น วัสดุ ที่ เก่า คือ เริ่ม สลาย ตัว แล้ว มิ ฉะนั้น จะ ทำ ให้ เกิด การ ขาด ไนโตรเจนกับต้น กุหลาบ ดัง นั้น ถ้า ไซ้ วัสดุ ที่ คลุม แปลง ค่อน ข้าง ใหม่ ควร เติม ปุ๋ย ไนโตรเจน ลง ไป ด้วย การ คลุม แปลง นี้ นอก จาก จะ ช่วย รักษา ความ ชื้น และ อุณหภูมิ รวม ทั้ง เพิ่ม ความ โปร่ง ของ ดิน และ เพิ่ม อินทรียวัตถุ ให้กับดิน ใน แปลง ปลูก แล้ว ยัง ช่วยป็องกัน วัช พืช ให้ ขืน ช้า อีก ด้วย
การตัดแต่งกิ่ง
การตัด แต่งกิ่งเป็น สิ่ง จำ เป็น สำหรับ การ ปลูก กุหลาบ ถ้า ผู้ ปลูก กุหลาบ ไม่ มี การ ตัด แต่งกิ่งเลย ก็ จะ ทำ ให้ ต้น กุหลาบ เจริญ เติบ โต อย่าง อิสระ แตกกิ่งก้าน มาก เกิน ไป ทำ ให้ ดอก มี ขนาด เล็ก ไม่ เป็น ที่ ต้อง การ ของ ตลาด ดัง นั้น เกษตร กร จึง ควร มี การ ตัด แต่งกิ่งเพื่อ ให้ ต้น ได้ รูป ทรง พุ่ม ต้น และ โคน ต้น โปร่ง ได้ รับ แสง แดด มาก ขึ้น ดอก ที่ ได้ จะ มี ขนาด ใหญ่ และ มี คุณภาพ ดี นอก จาก นี้ การ ตัด แต่งกิ่งยัง ช่วย กำจัด โรค และ แมลง ที่ แอบ แฝง อยู่ ใน พุ่ม ต้น ได้ ดี อีก ด้วย รวม ทั้ง สามารถ แต่ง ดิน ใน แปลง ปลูก ได้ สะดวก ทำ ให้ กุหลาบ ที่ ได้ มี การ ตัด แต่งกิ่งแล้ว เจริญ เติบ โต ดี ขึ้น
การตัด แต่งกิ่งกุหลาบ สามารถ ทำ ได้ 2 แบบ คือ
1. การตัด แต่งกิ่งแบบ ให้เฑลือกิ่งไว้กับต้น ยาว คือ ตัด แต่งกิ่งอ อก เพียง เล็ก น้อย โดย ให้ เหลือกิ่งที่ มี ใบ สมบูรณ์ ไว้ มาก เพื่อ ให้ มี อาหาร เลี้ยง ต้น มาก การ ตัด แต่งกิ่งมี หลัก ใน การ พิจารณา เลือกกิ่งที่ จะ ต้อง ตัด ออก คือกิ่งที่ แห้ง ตาย กิ่งที่ เป็น โรค หรือ ถูก แมลง ทำลาย กิ่งไขว้ ที่ เจริญ เข้า หา ทรง พุ่ม กิ่งที่ ล้ม เอน ไม่ เป็น ระเบียบ ควร จะ ต้อง ให้ ตา ที่ อยู่ บน สุด ของกิ่งหัน ออก นอก พุ่ม ต้น เพื่อ ให้กิ่งที่ แตก ใหม่ หัน ออก นอก ทรง พุ่ม ด้วย และ ตัดกิ่งให้ เฉียง 45 องศา สำหรับ การ ตัด แต่งกิ่งแบบ ให้ เหลือกิ่งไว้กับต้น ยาว นี้ ใช้ ได้กับกุหลาบ ที่ ปลูก จากกิ่งตัด ชำ และกิ่งตอน
การ |
---|
2. การตัด แต่งกิ่งแบบ ให้ เลือกกิ่งไว้กับต้น สั้น คือ ตัด แต่งกิ่งจน เหลือกิ่งบน ต้น สูง จาก พื้น ดิน ประมาณ 30-45 เซนติเมตร แล้ว เหลือกิ่งไว้ 3-4 กิ่งเท่า นั้น การ ตัด แต่งกิ่งแบบ นี้ จะ ตัด แต่ง ได้ เฉพาะ ต้น กุหลาบ ที่ ปลูก จาก ต้น ติด ตา เพียง อย่าง เดียว เท่า นั้น ถ้า ต้น ติด ตา นั้น มี อายุ น้อย กว่า 2 ปี ให้ ตัด แต่งกิ่งแบบ แรก แต่ ต้อง ตัด เพิ่ม เติม อีก คือ กิ่งแก่ ที่ ไม่ ต้อง การ และกิ่งชัก เกอร์ (กิ่งของ ต้น ตอ ซึ่ง เป็น กุหลาบ พันธุ์ ป่า)
สำหรับระยะ เวลา ที่ เหมาะ สม ต่อ การ ตัด แต่งกิ่ง คือ ต้น ฤดู ฝน เมื่อ ตัด แต่ง กิ่งให้ น้อย ลง ตาม ความ ต้อง การ แล้ว ควร ใช้ ปูน แดง ผสมกับยา กัน รา หรือ ใช้ สี น้ำ มัน ทา บน รอย แผล ที่ ตัด เพื่อ ป้อง กัน การ เน่า ลุก ลาม ของ เชื้อ รา จาก รอบ แผล ที่ ตัด นอก จาก นี้ ควร เก็บกิ่งและ ใบ ที่ ตัด ออก ทำ ความ สะอาด แปลง ให้ เรียบ ร้อย ด้วย แล้ว จึง แต่ง ดิน ใน แปลง ปลูก คือ ไถ พรวน หน้า ดิน ใส่ ปุ๋ย คอก ปุ๋ย เคมี รวม ทั้ง ใช้ วัสดุ คลุม แปลง ปลูก พร้อม ทั้ง รด น้ำ ให้ ชุ่ม ด้วย จะ ทำ ให้ กุหลาบ แตก ตา ได้ เร็ว และ ได้ ต้น ที่ สมบูรณ์
การ |
---|
การตัดดอกกุหลาบ
การตัด ดอก กุหลาบ เพื่อ จำหน่าย นั้น ควร ให้ มีกิ่งเหลือ อยู่ อย่าง น้อย 2 กิ่ ง เสมอ (กิ่งที่ มี ใบ ย่อย ครบ 5 ใบ) ไม่ ควร ตัด ชิด โคนกิ่ง และ เมื่อ ตัด ดอก ออก จาก ต้น แล้ว ให้ รีบ แช่ ก้าน ดอก ใน น้ำ ทัน ที เพื่อ ป้อง กัน การ สูญ เสีย น้ำ จากกิ่ง โดย ทั่ว ไป เกษตร กร นิยม ตัด ดอก ใน ตอน บ่าย และ เย็น หรือ อาจ ตัด ใน ตอน เช้า ก็ ได้ (เพื่อ จะได้ ส่ง ตลาด ทัน เวลา) แต่ เนื่อง จาก ดอก กุหลาบ มี อายุ การ ใช้ งาน สั้น และ กลีบ ดอก ก็ช้ำ ได้ ง่าย ฉะนั้น การ ตัด ดอก กุหลาบ ใน ช่วง ที่ ยัง ไม่ เหมาะ สม จะ ทำ ให้ เกิด ปัญหาได้ เช่น ถ้า ตัด ดอก ตูม เกิน ไป ดอก ก็ จะ ไม่ บาน และ คอด อก จะ โค้ง งอ ง่าย แต่ ถ้าตัด ดอก ที่ บาน เกิน ไป ดอก กุหลาบ จะ บาน เร็ว และ มี อายุ การ ปัก แจ กัน สั้น
โรคและแมลงศัตรูกุหลาบ
1. โรคใบ จุด เกิด จาก เชื้อ รา มี ลักษณะ อาการ เป็น จุด ดำ กลม บน ใบ ส่วน ใหญ่จะ เป็นกับใบ แก่จะ ทำ ให้ ใบ เหลือง และ ร่วง ใน เวลา ต่อ มา บาง ครั้ง ถ้า เป็น มาก อาจ ลุก ลาม มา ที่กิ่งด้วย ระบาด มาก ใน ฤดู ฝน ควร ป้อง กัน โดย ฉีด พ่น ด้วย สาร เคมี เช่น ดูปราวิท ไดเทนเอ็ม -45 แคปแทน เบน เสท และ เบน โน มิล
2. โรครา แป้ง เกิด จาก เชื้อ รา โรค นี้ จะ เป็นกับยอด อ่อน และ ดอก อ่อน มี ลักษณะ เป็น ปุย ขาว คล้าย แป้ง ทำ ให้ ส่วน ของ พืช ที่เป ็นโรค นี้ เกิด อาการ หงิก งอ ไม่ เจริญ เติบ โต ต่อ ไป ระบาด มาก ใน ฤดู หนาว ควร ป้อง กัน โดย ฉีด พ่น ด้วย สาร เคมี เช่น เบน เสท ดา โค นิล และ คา รา แทน
3. โรคหนาม ดำ เกิด จาก เชื้อ รา โดย เชื้อ รา นี้ จะ เข้า ทำลาย แผล ที่ เกิด จากรอย ตัด หรือ เด็ด หนาม ของกิ่งอ่อน แล้ว ลุก ลาม ไป เรื่อยๆ ตามกิ่งก้าน ทำ ให้กิ่งก้าน เหี่ยว แห้ง ตาย ไป ใน ที่ สุดควร ป้อง กัน โดย ทา แผล จาก รอย ตัด ด้วย ปูน แดง
4. โรคใบ จุด สี น้ำ ตาล หรือ โรค ตา กบ เกิด จาก เชื้อ รา มี ลักษณะ อาการ เป็น จุด กลม สี น้ำ ตาล ขนาด 1/4 นิ้ว แล้ว จะ เปลี่ยน เป็น วง กลม สี เทา มี ขอบ สี ม่วง-แดง ระบาด มาก ใน ฤดู ฝน ควร ป้อง กัน โดย ใช้ สาร เคมี เบน เสท ไดเทน หรือ แบน แซด ดี
5. โรคไวรัส เกิด จาก เชื้อ ไวรัส ลักษณะ อาการ จะ ปรากฎ ให้ เห็น ที่ ใบ โดย ใบ จะ ด่าง เหลือง เมื่อ พบ ว่า ต้น กุหลาบ เป็น โรค นี้ ให้ ถอน และ เผา ทำลาย เสีย
หนอนและแมลงชนิดต่าง ๆ
1. หนอนเจาะ ดอก เป็น หนอน ผี เสื้อ กลาง คืน ขนาด เล็ก ซึ่ง จะ วาง ไข่ อยู่ ที่ กลีบ ดอก ด้าน นอก เมื่อ ไข่ ฟัก ออก เป็น ตัว จะ กัด กิน ดอก และ อาศัย อยู่ ใน ดอก ระบาด มาก ช่วง ที่ กุหลาบ ให้ ดอก ดก หรือ ใน ช่วง ฤดู หนาว ควร ป้อง กัน โดย ใช้ สาร เคมี ประเภท ดูด ซึม เช่น ดิลด ริน ฟอสด ริน
2. หนอนกิน ใบ เป็น หนอน ของ ผี เสื้อ กลาง คืน มัก วาง ไข่ อยู่ ใต้ ใบ เมื่อ ไข่ ฟัก เป็น ตัว หนอน ก็ จะ ทำลาย ใบ ที่ อาศัย บาง ชนิด ทำลาย เฉพาะ ผิว เนื้อ ใต้ ใบ ทำ ให้ ใบ มี ลักษณะ โปร่ง ใส มอง เห็น ได้ ชัด เจน สาร เคมี ที่ใซ้ได้ ผล ดี เช่น เอนดริน
3. หนอนเจาะ ต้น เป็น หนอน ของ ผึ้ง บาง ชนิด และ หนอน ของ แมลง วัน บาง ชนิด อาจ จะ เป็น หนอน ของ พวก ต่อ แตน ด้วย หนอน ชนิด นี้ จะ เจาะ กิน ไส้ กลาง และ บริเวณ ท่อ น้ำ ของกิ่งหรือ ต้น ทำ ให้กิ่งและ ต้น แห้ง ตาย ควร ป้อง กัน กำจัด โดย การ ตรวจ ดู บริเวณ รอย ต่อ ระหว่างกิ่งแห้ง และกิ่งดี หาก พบ ตัว หนอน ก็ ทำลาย เสีย หรือ ป้อง กัน โดย การ ตัด แต่งกิ่งตาม กำหนด
4. แมลงปีก แข็ง บาง ที เรียก ด้วง ปีก แข็ง มี ทั้ง ชนิด ตัว สี ดำ และ สี น้ำ ตาล ขนาด ประมาณ 1.5-2 เซนติเมตร ออก หา กิน ใน เวลา กลาง คืน ระหว่าง 1-3 ทุ่ม โดย การ กัด กิน ใบ กุหลาบ ส่วน ใน เวลา กลาง วัน จะ ซ่อน ตัว อยู่ ตาม กอ หญ้า ป้อง กัน โดย ใช้ สาร เคมี เช่น คลอ เดน หรือ เซพวิน
5. ผึ้งกัด ใบ จะ กัด กิน ใบ กุหลาบ ใน ช่วง เวลา กลาง วัน สังเกต ได้ ที่ รอย แผล มัก จะ เป็น รอย เหมือน ถูก เฉือน ด้วย มีด คมๆ เป็น รูป โค้ง ป้อง กัน ได้ เช่น เดียวกับแมลง ปีก แข็ง
6. เพลี้ยไฟ เป็น แมลง ปาก ดูด มี สี น้ำ ตาล ดำ ตัว อ่อน สี ขาว นวล จะ ดูด กิน น้ำ เลี้ยง จาก ใบ และ ดอก ทำ ให้ ดอก ที่ ถูก ทำลาย ไม่ บาน ระบาด มาก ใน ฤดู ร้อน ป้อง กัน โดย การ ฉีด พ่น ด้วย สาร เคมี เช่น โต กุ ไท ออน คลอ เดน หรือ นิโคตินซัลเฟต
7. เพลี้ยแป้ง เป็น แมลง ปาก ดูด มัก เกาะ กิน ตาม ใบ อ่อน หรือ ง่าม ใบ ทำ ให้ ใบ หงิก งอ ควร ป้อง กัน กำจัด โดย ใช้ สาร เคมี กำจัด แต่ ต้อง ผสม สาร เคลือบ ใบ ลง ไป ด้วย เพราะ บน ตัว เพลี้ย แป้ง จะ มี ขน ปุย สี ขาว ปก คลุม ซึ่ง มี ลักษณะ เป็น มัน จับ น้ำ ได้ ยาก
8. เพลี้ยหอย เป็น แมลง ปาก ดูด มัก เกาะ ทำลาย โดย ดูด น้ำ เลี้ยง จาก ลำ ต้น จะ สังเกต เป็น เป็น จุด สี น้ำ ตาล อยู่ บนกิ่งของ กุหลาบ เพลี้ย หอย นี้ มี ลักษณะ พิเศษ คือ ตัว ของ มัน จะ มี เปลือก หุ้ม หนา ทำ ให้ แมลง ซึม เข้า ถึง ตัว ได้ ยาก ฉะนั้น วิธี กำจัด ที่ ได้ ผล ดี ก็ คือ ใช้ น้ำ มัน ทา หรือ ฉีด พ่น เคลือบ ตัว มัน ไว้ ทำ ให้ เพลี้ย ไม่ มี ทางหาย ใจ และ ตาย ใน ที่ สุด แต่ เมื่อ เพลี้ย ตาย แล้ว จะ ไม่ หลุด จาก ลำ ต้น จะ ยัง ติด อยู่ ที่เดิม
9. เพลี้ยอ่อน เป็น แมลง ปาก ดูด ทำลาย พืช ตรง บริเวณ ส่วน ที่ เป็น ยอด อ่อน และ ใบ อ่อน ทำ ให้ ใบ เหลือง และ ร่วง หล่น ควร ป้อง กัน กำจัด โดย ใช้ สาร เคมี เช่น ฟอสด ริน เอนดริน และ พา ราไธ ออน เป็น ต้น
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น